วิธีออกกำลังกายสำหรับผู้หญิง ตั้งครรภ์ ฉบับทำตามได้ง่ายๆ

วิธีออกกำลังกายสำหรับผู้หญิง ตั้งครรภ์ ฉบับทำตามได้ง่ายๆ

วิธีออกกำลังกายสำหรับผู้หญิง ตั้งครรภ์

ฉบับทำตามได้ง่ายๆ เพิ่มความแข็งแรง

 

วิธีออกกำลังกายสำหรับผู้หญิง ก็ไม่ต่างกับผู้ชายมากนัก แต่เพราะผู้หญิงมีการตั้งครรภ์ เราจึงต้องมีวิธีออกกำลังกายที่ซับซ้อนยิ่งขึ้น

 

เวิร์คเอ๊าต์ระหว่างตั้งครรภ์

ไม่ใช่นักกีฬา ควรว่ายน้ำหรือเดิน ไม่ควรวิ่ง ไม่ควรยกน้ำหนัก ไม่ควรออกกําลังกายที่ต้องใช้แรงกระแทก หรือการเกร็งกล้ามเนื้อบริเวณร่างกาย นักกีฬา ควรวิ่งเหยาะๆ ควรออกกําลังกายเบาๆ ควรออกกําลังกาย ไม่เกินวันละ 20-30 นาที ควรปรับการออกกําลังกายเป็นประเภทอื่นเมื่อรู้สึกว่าร่างกายล้าเกินไป สําหรับการออกกําลังกายแบบเดิม ไม่ควรออกกําลังกายเมื่อ รู้สึกครรภ์ใหญ่และอุ้ยอ้าย

 

ประโยชน์จากการออกกำลังกายระหว่างตั้งครรภ์

• ช่วยลดความเครียดและความกังวลขณะตั้งครรภ์

• แก้อาการแพ้ท้องหากออกมาวิ่งนอกบ้าน

• ลดอาการที่เกิดขึ้นขณะตั้งครรภ์ เช่น เหงื่อออกมาก เหนื่อยง่าย นอนไม่หลับ

• ช่วยลดภาวะน้ำหนักเกินขณะตั้งครรภ์

• ลดภาวะน้ำตาลในเลือดสูง ความดันโลหิตสูง หรือครรภ์เป็นพิษ

• เพิ่มระดับภูมิคุ้มกันในร่างกาย

• ช่วยให้ทารกในครรภ์แข็งแรงสมองมีพัฒนาการ

 

เวิร์คเอ๊าต์หลังคลอด

• หากจําเป็นต้องออกกําลังกายให้ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญด้านการออกกําลังกาย เพื่อบริหารบริเวณกระดูกเชิงกราน

• หากจะออกกําลังกายหลังคลอด 10 สัปดาห์ ให้เริ่มด้วยการทําสควอชหรือแพลงก์เป็นระยะเวลาสั้นๆ

 

รูปภาพจาก pixels

 

 

รูปภาพจาก unsplash

 

 

• อย่ากังวลหากรู้สึกอ่อนเพลียเกินกว่าจะออกกําลังกายในช่วงแรก

• หากรู้สึกไม่สบายกาย-ใจระหว่าง 1-6 สัปดาห์หลังคลอด ให้เดินช้าๆ

• ควรวางแผนการออกกําลังกาย ตามปกติหลังคลอด 15 สัปดาห์

• ไม่ควรออกกําลังกายหลังคลอดเป็นเวลา 6-8 สัปดาห์

ผู้หญิงที่กำลังตั้งครรภ์ ไม่ควรออกกําลังกายที่ต้องใช้แรงกระแทก
หลังคลอดร่างกายจะหลั่งฮอร์โมนรีแล็กซิน (relaxin) เพื่อซ่อมแซมระบบอวัยวะต่างๆ อย่างรวดเร็ว โดยฮอร์โมนนี้จะอยู่ในร่างกายนานราว 6-10 สัปดาห์ ฉะนั้น หากออกกําลังกายประเภทที่ต้องใช้แรงกระแทกหรือการใช้กําลังข้อต่อต่างๆ จะทําให้กระดูกสันหลังและข้อต่อกระดูกเชิงกรานถูกทําลายถาวร

 

 

ขอขอบคุณข้อมูลจาก goodlifeupdate

แหล่งที่มา ชีวจิต ฉบับที่ 14 January 2020